3-25 เรื่อง My strongest bridge (สะพานของฉันแข็งแรงที่สุด) ม.2 ม.ราชภัฏพิบูลสงคราม

เรื่อง My strongest bridge (สะพานของฉันแข็งแรงที่สุด)  ม.2 ม.ราชภัฏพิบูลสงคราม

มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
เรื่อง My strongest bridge (สะพานของฉันแข็งแรงที่สุด)   วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน   ระดับชั้น ม.2

 

  1. จุดประสงค์การจัดการเรียนรู้ (Objective)

ด้านพุทธิพิสัย

  1. บอกความหมายของแรงและการหาแรงลัพธ์ได้
  2. ทดลองและแสดงวิธีการหาผลรวมของแรงลัพธ์ได้
  3. อธิบายแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุที่หยุดนิ่งหรือวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวได้

ด้านทักษะพิสัย

1.ทดลองและแสดงวิธีการหาผลรวมของแรงลัพธ์ได้

2.สามารถในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม ซึ่งประกอบไปด้วย

+  การวางแผนการทำงานร่วมกัน

+  การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ

+  การใช้เหตุผลแสดงความคิดเห็น

+  สามัคคีร่วมกันทำงาน

+  การนำเสนอผลงาน
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

1.มีความสนใจใฝ่เรียนรู้กระตือรือร้นในการเรียน

2.มีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมด้วยความเต็มใจ

3.มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ตนเองได้รับ

4.มีความซื่อสัตย์

5.มีความตรงต่อเวลา

 

 

 

  1. กิจกรรม (Activities)นักเรียนได้รับหน้าที่เป็นวิศวกรในการออกแบบสร้างสะพานให้สามารถรับน้ำหนักเพื่อขนถ่ายสินค้าให้ได้มากที่สุดภายในรอบเดียว

 

 

  1. เครื่องมือไอซีที/วัสดุ/อุปกรณ์ (Tools and Materials)
    – คอมพิวเตอร์

– แทปเลต

– โทรศัพท์มือถือ

– กระดาษรีไซเคิล

– กาว

– กระบอกตวง

– ถังใส่น้ำ

 

 

  1. การวัดและการประเมินผล

 

 

ประเด็นการการประเมิน เกณฑ์การประเมิน
4 3 2 1
1. การวางแผนการทำงานร่วมกัน มีการวางแผนเป็นลำดับขั้นตอนอย่างชัดเจน ดีเยี่ยม มีการวางแผนเป็นลำดับขั้นตอนดี มีการวางแผนแต่ไม่เป็นลำดับขั้นตอน ไม่มีการวางแผนเลย
2. การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ กระจายงานได้ทั่วถึงและตรงตามความสามารถ กระจายงานได้ในระดับดี แต่ยังไม่ทั่วถึงทุกคนและตรงตามความสามารถ กระจายงานยังไม่ทั่วถึง ตรงความสามารถบ้างไม่ตรงบ้าง กระจายงานได้ไม่ทั่วถึง และไม่ตรงความสามารถ
3. การใช้เหตุผลการแสดงความคิดเห็น แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล และชัดเจน แสดงความคิดเห็นที่มีเหตุผล แต่ยังไม่ชัดเจน แสดงความคิดเห็น แต่มีเหตุผลเล็กน้อยไม่ชัดเจน ไม่ค่อยแสดงความคิดเห็น
4. ความตรงต่อเวลา เข้าเรียนและส่งงานตรงเวลาทุกครั้ง เข้าเรียนหรือส่งงานไม่ตรงเวลาเป็นบางครั้ง เข้าเรียนและส่งงานไม่ตรงเวลาเป็นบางครั้ง เข้าเรียนสายบ่อยครั้ง และไม่ค่อยส่งงาน
5.รูปแบบชิ้นงาน รูปแบบชิ้นงานถูกต้องตามที่กำหนด รูปแบบแปลกใหม่น่าสนใจ มีขนาดเหมาะสม รูปแบบชิ้นงานถูกต้องตามที่กำหนด รูปแบบแปลกใหม่น่าสนใจ รูปแบบชิ้นงานไม่ถูกต้องตามที่กำหนด รูปแบบแปลกใหม่น่าสนใจ รูปแบบชิ้นงานไม่ถูกต้องตามที่กำหนด รูปแบบไม่แปลกใหม่น่าสนใจ
6.ความแข็งแรง รับน้ำหนักได้มากกว่า 50 กิโลกรัมขึ้นไป รับน้ำหนักได้ 40-49 กิโลกรัม รับน้ำหนักได้ 30-39 กิโลกรัม รับน้ำหนักได้น้อยกว่า 30กิโลกรัม
7.การอภิปรายและบันทึกผลการทดลองความสามัคคีร่วมกันทำงาน  สามัคคีร่วมกันทำงาน อภิปรายผลการทดลองได้ถูกต้อง บันทึกผลการทดลองและสรุปผลการทดลองถูกต้อง อภิปรายผลการทดลองได้ 70%บันทึกผลการทดลองและสรุปผลการทดลองถูกต้อง อภิปรายผลการทดลองได้ 50%บันทึกผลการทดลองและสรุปผลการทดลองไม่ถูกต้อง อภิปรายผลการทดลองยังไม่ถูกต้อง บันทึกผลการทดลองหรือสรุปผลการทดลองไม่ถูกต้อง

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 22-28 15-21 8-14 7-13
ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

 

 

DSC07705 DSC_6807 DSC07747 DSC07745 DSC07672 DSC_6766 DSC_6761 DSC_6650 DSC_6629 DSC_6626 DSC_6621 DSC_6583 DSC_6560 DSC_6812

 

 

 

 

 

  1. บันทึกอนุทินหลังการจัดการเรียนรู้
    ข้อมูล เพิ่มเติม (สามารถใส่ภาพประกอบ วีดีโอเบื้องหลัง แผนการสอน หรืออื่นๆ ประกอบการเล่าเรื่องเพื่อให้คณะกรรมการได้รับทราบเกี่ยวกับกิจกรรมที่ดำเนิน การได้เข้าใจที่ชัดเจนขึ้น)

แผนการจัดการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5              เรื่องแรงในชีวิตประจำวัน                                               ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2

รายวิชา วิทยาศาสตร์ 3          รหัสวิชา ว 22101                          ภาคเรียนที่ 1              ปีการศึกษา 2558

เรื่อง My strongest bridge (สะพานของฉันแข็งแรงที่สุด)   

ครูผู้สอน นายวัฒนา  บุญหว่าน                                                                                             เวลา 3 ชั่วโมง

  1. สาระสำคัญ

แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ เมื่อแรงหลายแรงในระนาบเดียวกันกระทำต่อวัตถุเดียวกัน สามารถหาแรงลัพธ์ได้ โดยใช้หลักการรวมเวกเตอร์ เมื่อแรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์กระทำต่อวัตถุที่หยุดนิ่ง วัตถุนั้นก็จะหยุดนิ่งตลอดไปแต่ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ก็จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวตลอดไป

  1. ตัวชี้วัด/ จุดประสงค์การเรียนรู้

2.1 ตัวชี้วัด

 4.1   ม.2/1         ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในระนาบเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุ

 4.1   ม.2/2         อธิบายแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุที่หยุดนิ่งหรือวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว

2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านพุทธิพิสัย

  1. บอกความหมายของแรงและการหาแรงลัพธ์ได้
  2. ทดลองและแสดงวิธีการหาผลรวมของแรงลัพธ์ได้
  3. อธิบายแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุที่หยุดนิ่งหรือวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวได้

กระบวนการดังกล่าวได้

ด้านทักษะพิสัย

1.ทดลองและแสดงวิธีการหาผลรวมของแรงลัพธ์ได้

2.สามารถในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม ซึ่งประกอบไปด้วย

+  การวางแผนการทำงานร่วมกัน

+  การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ

+  การใช้เหตุผลแสดงความคิดเห็น

+  สามัคคีร่วมกันทำงาน

+  การนำเสนอผลงาน

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

1.มีความสนใจใฝ่เรียนรู้กระตือรือร้นในการเรียน

2.มีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมด้วยความเต็มใจ

3.มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ตนเองได้รับ

4.มีความซื่อสัตย์

5.มีความตรงต่อเวลา

 

3.สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

  1. แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ เมื่อมีแรงหลายแรงในระนาบเดียวกันกระทำต่อวัตถุเดียวกันสามารถหาแรงลัพธ์ได้โดยใช้หลักการรวมเวกเตอร์
  2. เมื่อแรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์กระทำต่อวัตถุที่หยุดนิ่ง วัตถุนั้นก็จะหยุดนิ่งตลอดไป แต่ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ก็จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวตลอดไป

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

  1. สมรรถนะสำคัญที่จะเกิดกับผู้เรียน (ตามแผนการจัดการเรียนรู้นี้)
    [    ]   ความสามารถในการสื่อสาร

[    ]   ความสามารถในการคิด

[    ]   ความสามารถในการแก้ปัญหา

[    ]   ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

[    ]   ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

 

  1. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(ที่ปรากฏจากการเรียน)

5.1  [     ]  รักชาติศาสน์ กษัตริย์         5.2  [     ]  ซื่อสัตย์สุจริต            5.3  [     ] มีวินัย

5.4  [     ]   ใฝ่เรียนรู้                          5.5  [     ]  อยู่อย่างพอเพียง       5.6  [     ]  มุ่งมั่นในการทำงาน

5.7  [     ]   รักความเป็นไทย              5.8  [     ]  มีจิตสาธารณะ

 

  1. กิจกรรมการเรียนรู้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบหาความรู้ (5E) ข้อมูล ควบคู่ไปกับการทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม อภิปรายและสรุปสาระสำคัญ

6.1  ขั้นสร้างความสนใจ

-ครูผู้สอนอธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับแรงต่างๆที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน

-ครูผู้สอนใช้คำถามกระตุ้นความคิดของผู้เรียน

-ถ้านักเรียนได้รับหน้าที่เป็นวิศวกรในการออกแบบสร้างสะพานให้สามารถรับน้ำหนักเพื่อขนถ่ายสินค้าให้ได้มากที่สุดภายในรอบเดียว นักเรียนจะออกแบบสะพานอย่างไร

 

6.2  ขั้นสำรวจและค้นหา

-แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน

-ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างสะพาน ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด

-เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลแล้ว จึงให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบสะพานตามที่ได้ศึกษาไว้

-เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบสะพานเสร็จแล้ว จึงให้นักเรียนลงมือสร้างสะพานโดยแต่ละกลุ่มจะต้องใช้กระดาษ A4 กลุ่มละ 100 แผ่น และกาวลาเท็กเท่านั้นในการสร้างสะพาน

-หลังจากนักเรียนแต่ละกลุ่มสร้างสะพานเสร็จเรียบร้อยแล้วจึงนำมาทดสอบความแข็งแรง โดยการนำถังน้ำไปแขวนไว้กับตัวสะพานที่นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ทำ แล้วเติมน้ำลงไปในถังจนกว่าสะพานจะพังจึงนำน้ำมาวัดปริมาณ กลุ่มใดสามารถวัดปริมาณน้ำได้มากที่สุดถือว่าสะพานนั้นมีความแข็งแรง

6.4ขั้นขยายความรู้

                -นักเยนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอข้อดีและข้อเสียในการสร้างสะพานของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนเทคนิคความรู้ต่างๆกับเพื่อนในห้อง

6.5ขั้นประเมินผล

-การตรวจชิ้นงานของครู และการให้คะแนน

  1. การวัดและประเมินผล
ประเด็นการการประเมิน เกณฑ์การประเมิน
4 3 2 1
1. การวางแผนการทำงานร่วมกัน มีการวางแผนเป็นลำดับขั้นตอนอย่างชัดเจน ดีเยี่ยม มีการวางแผนเป็นลำดับขั้นตอนดี มีการวางแผนแต่ไม่เป็นลำดับขั้นตอน ไม่มีการวางแผนเลย
2. การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ กระจายงานได้ทั่วถึงและตรงตามความสามารถ กระจายงานได้ในระดับดี แต่ยังไม่ทั่วถึงทุกคนและตรงตามความสามารถ กระจายงานยังไม่ทั่วถึง ตรงความสามารถบ้างไม่ตรงบ้าง กระจายงานได้ไม่ทั่วถึง และไม่ตรงความสามารถ
3. การใช้เหตุผลการแสดงความคิดเห็น แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล และชัดเจน แสดงความคิดเห็นที่มีเหตุผล แต่ยังไม่ชัดเจน แสดงความคิดเห็น แต่มีเหตุผลเล็กน้อยไม่ชัดเจน ไม่ค่อยแสดงความคิดเห็น
4. ความตรงต่อเวลา เข้าเรียนและส่งงานตรงเวลาทุกครั้ง เข้าเรียนหรือส่งงานไม่ตรงเวลาเป็นบางครั้ง เข้าเรียนและส่งงานไม่ตรงเวลาเป็นบางครั้ง เข้าเรียนสายบ่อยครั้ง และไม่ค่อยส่งงาน
5.รูปแบบชิ้นงาน รูปแบบชิ้นงานถูกต้องตามที่กำหนด รูปแบบแปลกใหม่น่าสนใจ มีขนาดเหมาะสม รูปแบบชิ้นงานถูกต้องตามที่กำหนด รูปแบบแปลกใหม่น่าสนใจ รูปแบบชิ้นงานไม่ถูกต้องตามที่กำหนด รูปแบบแปลกใหม่น่าสนใจ รูปแบบชิ้นงานไม่ถูกต้องตามที่กำหนด รูปแบบไม่แปลกใหม่น่าสนใจ
6.ความแข็งแรง รับน้ำหนักได้มากกว่า 50 กิโลกรัมขึ้นไป รับน้ำหนักได้ 40-49 กิโลกรัม รับน้ำหนักได้ 30-39 กิโลกรัม รับน้ำหนักได้น้อยกว่า 30กิโลกรัม
7.การอภิปรายและบันทึกผลการทดลองความสามัคคีร่วมกันทำงาน  สามัคคีร่วมกันทำงาน อภิปรายผลการทดลองได้ถูกต้อง บันทึกผลการทดลองและสรุปผลการทดลองถูกต้อง อภิปรายผลการทดลองได้ 70%บันทึกผลการทดลองและสรุปผลการทดลองถูกต้อง อภิปรายผลการทดลองได้ 50%บันทึกผลการทดลองและสรุปผลการทดลองไม่ถูกต้อง อภิปรายผลการทดลองยังไม่ถูกต้อง บันทึกผลการทดลองหรือสรุปผลการทดลองไม่ถูกต้อง

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 22-28 15-21 8-14 7-13
ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

 

  1. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

8.1 สื่อ

8.1.1 หนังสือแบบเรียนวิทยาศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

8.1.2 อุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรม

  1. กระดาษ อุปกรณ์ประดิษฐ์
  2. กระบอกตวง ถังน้ำ
  3. ตุ้มน้ำหนัก

8.1.3 ใบงาน เรื่อง งาน เรื่องแรงในชีวิตประจำวัน

8.1.4 ใบงาน เรื่อง แรงลัพธ์

8.1.5 ใบงาน เรื่อง การรวมแรง

8.2 แหล่งการเรียนรู้

8.2.1 ศูนย์พัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

8.2.2 ห้องสมุดโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

8.2.3 ห้อง e-classroom

 

ชื่อเจ้าของผลงาน

นายวัฒนา บุญหว่าน นักศึกษาวิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์

เบอร์โทรศัพท์ 085-357-0633

Email: Men_artily@hotmail.com

ที่ปรึกษาโครงการ

ว่าที่ร้อยตรีศักย์ชัย  เพชรสุวรรณ

E-mail : hs9min@gmail.com

เบอร์โทรศัพท์ 0862931485