หลักสูตร “การสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณด้วย KidBright – IoT สำหรับ นักเรียนและครูมัธยมศึกษา” (ด้วยกระบวนการ Online)
รายชื่อวิทยากร ผู้ช่วยวิทยากร และคณะทำ
การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อการเรียนการสอน วิทยาการคํานวณด้วย KidBright – IoT” (ด้วยกระบวนการ Online)
ภายใต้โครงการพัฒนาครูและเยาวชนกลุ่มด้อยโอกาสด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology)
กับการเรียนรู้แบบร่วมกัน (Collaborative Learning) จากการสร้างสรรค์นวัตกรรม IoT (Internet of Things)
- วิทยากร และผู้ช่วยวิทยากร
1) รศ.ยืน ภู่วรวรรณ อดีตรองอธิการบดี ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2) รศ.ดร.บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3) รศ.ประดนเดช นีละคุปต์ อดีตผู้อำนวยการสำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
4) ผศ.ชัยพร ใจแก้ว ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
5) คณะวิทยากรและผู้ช่วย
- คณะผู้ปฏิบัติงานจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
1) นางเยาวลักษณ์ คนคล่อง ผู้อำนวยการฝ่ายฯ
2) นายสุรเดช พหลโยธิน ที่ปรึกษาฯ
3) นายศิโรจน์ ศรีสรากรณ์ นักวิชาการ
4) นางสาวธัญญ์ณัช บุษบงค์ ผู้ประสานงานอาวุโส
5) นางสาวนวพรรษ คำไส ผู้ประสานงาน
6) นางสาวเรณุกา อานับ เจ้าหน้าที่ประสานงานทั่วไป
- คณะผู้ปฏิบัติงานสำนักงานประสานงานโครงการตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
1) นายชาญชัย วงศ์สารสิน เจ้าหน้าที่สารสนเทศ
2) นางสาวสุพัตรา บับภาร เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
3) นางสาวจรรยารัตน์ มาแสง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
- ตารางการจัดกิจกรรม
รุ่น | วันที่จัดอบรม | กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน |
รุ่น 1 | วันอาทิตย์ที่ 18 – วันอังคารที่ 20 กรกฎาคม 2564 | ครูและนักเรียนโรงเรียนของโครงการตามพระราชดำริฯ 1) โรงเรียน ทสรช. (24 แห่ง) | 144 คน
|
|
| 2) โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม (4 แห่ง) | 24 คน |
รุ่น 2 | วันศุกร์ที่ 6 – วันอาทิตย์ที่ 8 สิงหาคม | 1) ครูและนักเรียนของสนก. สพฐ. (20 แห่ง) | 120 คน |
| 2564 | 2) ครูและนักเรียนโรงเรียนในพื้นที่แม่ฮ่องสอน (10 แห่ง) | 60 คน |
|
| 3) ครูและนักเรียนโรงเรียนของโครงการตามพระราชดำริฯ อื่น ๆ (2 แห่ง) | 12 คน |
|
| รวมทั้งสิ้น | 360 คน |
กำหนดการ
วันที่ 1 VDO ย้อนหลัง | Clip1 | Clip2 |
08.00 – 08.45 น. เปิดระบบเพื่อเตรียมความพร้อมของทุกฝ่าย และลงทะเบียน
08.45 – 09:00 น. เปิดกิจกรรม และแนะนำจุดประสงค์ของการดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ออนไลน์
09:00 – 12:00 น. กิจกรรม แนะนำให้รู้จัก
– ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 KidBright 1.5 และอุปกรณ์ประกอบชุดทดลองกิจกรรม
– การติดตั้งซอฟต์แวร์ การใช้งาน IDE KidBright 1.6
– การตรวจสอบ ฟังก์ชันการทำงาน และการโค้ดดิ้งเบื้องต้น กับ KidBright
– การเขียนโค้ด เทคนิคที่สำคัญเกี่ยวกับบอร์ด KidBright 1.5
12:00 – 13:00 น. พักกลางวัน
13:00 – 17:00 น. กิจกรรมการเขียนโค้ด เทคนิคการเขียนโปรแกรม
– การเชื่อมต่อเซนเซอร์ รู้จักเซนเซอร์ และอุปกรณ์ อินพุตเอาท์พุต แบบต่างๆ
– การสั่งงาน KidBright 1.5 เพื่อควบคุม และให้ทำงานตามที่ต้องการ
– การใช้งานภาคแสดงผลและอินพุตเอาท์พุตบนบอร์ด
– การใช้งานเซนเซอร์พื้นฐานที่อยู่บนบอร์ด และที่จัดเตรียมไว้ให้ในชุดทดลอง
วันที่ 2 VDO ย้อนหลัง | Clip1 | Clip2 |
08:00 – 12:00 น. กิจกรรม การโค้ดดิ้งกับการพัฒนาการคิด
– ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานแบบดิจิทัล และอานาล็อก
– ระบบสื่อสารเบื้องต้นที่เชื่อมโยงบูรณาการกับวิทยาศาสตร์ แสง สี เสียง สนามแม่เหล็ก
การเคลื่อนที่ ความร้อน และอื่น ๆ
– การใช้เซอร์โว และมอเตอร์ การประกอบเป็นหุ่นยนต์ล้อเลื่อนแบบง่าย การเชื่อมต่อ การควบคุม
12:00 – 13:00 น. พักกลางวัน
13:00 – 17:00 น. กิจกรรม สร้างสรรค์งานดิจิทัล I/O
– การสื่อสารผ่านไวไฟ และการโค้ดดิ้ง KidBright และการเชื่อมต่อ
– การเขียนโค้ดควบคุมเซนเซอร์การสื่อสาร IoT เบื้องต้น และการเชื่อมต่อกับ Brink , Line
วันที่ 3 VDO ย้อนหลัง | Clip1 |
08:00 – 12:00 น. กิจกรรมการสร้างโครงงานวิศวกรรม และการออกแบบโครงงาน
12:00 – 13:00 น. พักกลางวัน
13:00 – 17:00 น. กิจกรรม การนำเสนอผลงานโครงงาน
แผนบริหารการสอนประจำห้องอบรม
“การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programming)”
รายวิชา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programming)
เวลาเรียน 24 ชั่วโมง (จำนวน 3 วัน)
วัตถุประสงค์ทั่วไป
เนื้อหา เวลาเรียน
วันที่ 1 ตอนที่ 1 รู้จักกับ KidBright 1.5 IoT 1 ชั่วโมง
ตอนที่ 2 IDE และการโค้ดดิ้งแบบบล็อก 1 ชั่วโมง
ตอนที่ 3 Coding with Logic and Loop 1 ชั่วโมง
ตอนที่ 4 Plugin 1 ชั่วโมง
ตอนที่ 5 Function and Task – Time clock 2 ชั่วโมง
ตอนที่ 6 KidBright กับงานโค้ดดิ้ง 2 ชั่วโมง
วันที่ 2 ตอนที่ 7 Input Output Digital Analog 1 ชั่วโมง
ตอนที่ 8 สี และ ตัวตรวจจับพิเศษ 1 ชั่วโมง
ตอนที่ 9 Sensor วัดสิ่งแวดล้อม 1 ชั่วโมง
ตอนที่ 10 IoT 2 ชั่วโมง
ตอนที่ 11 หุ่นยนต์ และการใช้ เซอร์โวมอเตอร์ 2 ชั่วโมง
ตอนที่ 12 ตัวตรวจจับความเร่ง และแม่เหล็ก 1 ชั่วโมง
วันที่ 3 ตอนที่ 13 การทำโครงงาน KidBright & coding 4 ชั่วโมง
ตอนที่ 14 การนำเสนอผลงานและไอเดีย 4 ชั่วโมง
วิธีสอนและกิจกรรม
- แบ่งกลุ่มศึกษาการใช้งานโปรแกรมโดยการบรรยาย และสาธิต
- แบ่งกลุ่มลงมือปฏิบัติตามกิจกรรม
- ผู้สอนสรุปเนื้อหาเพิ่มเติม
สื่อการเรียนการสอน
- โปรแกรมการเขียนควบคุมการทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (KidBright IDE)
- อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (เซนเซอร์ มอเตอร์ อุปกรณ์แสดงผล)
- คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค
รายการอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
- บอร์ด KidBright พร้อม สาย USB
<<<<< Download เกียรติบัตร >>>>>