โครงงานระบบควบคุมการเปิด–ปิดพัดลมด้วยเสียง
ที่มาและความสำคัญ
เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีต่างๆ นับว่ามีความสำคัญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาสิ่งของต่างๆให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีอย่างไม่สิ้นสุด ทุกวันนี้ได้มีเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆมากมายที่ถูกพัฒนาขึ้นหรือดัดแปลงให้มีความแปลกใหม่ น่าสนใจดีกว่าเดิม ทำให้มีการใช้งานง่ายขึ้น และมีความสะดวกสบายมากขึ้นในการใช้งาน เครื่องใช้ไฟฟ้ามีบทบาทสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ในแต่ละวัน เช่น พัดลม เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตร้อนชื้น ทำให้มีอุณหภูมิสูงตลอดปี ดังนั้นพัดลมจึงเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญในการช่วยบรรเทาความร้อน แต่ทุกวันนี้พัดลมในท้องตลาดเป็นพัดลมที่ต้องใช้ปุ่มกดในการเปิด-ปิด และเวลาที่เราทำงานหรือนอนอยู่อุณหภูมิในห้องเพิ่มมากขึ้นหรือลดลงทำให้เราต้องเดินหรือลุกจากที่นอนเพื่อไปเปิด-ปิดพัดลมด้วยตัวเอง เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งาน ทำให้ไม่เสียเวลาในการไปเปิดหรือปิดพัดลม
ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้า จึงได้จัดทำโครงงานระบบควบคุมการเปิด–ปิดพัดลมด้วยเสียงขึ้นม
วัตถุประสงค์
1. เพื่ออำนวยความสะดวกสบายของผู้ใช้งาน
2. เพื่อสร้างอุปกรณ์ระบบควบคุมการเปิด–ปิดพัดลมด้วยเสียง
วัสดุอุปกรณ์
1.พอร์ต
2.โพรโทบอร์ด
3.โมดูลเซนเซอร์เสียง
4. รีเลย์ 5 โวลต์
5.สายจั๊ม
6. Auduno Uno R3
หลักการทำงานของระบบควบคุมการเปิด-ปิดพัดลมด้วยเสียง
สำหรับระบบควบคุมการเปิด-ปิดพัดลมด้วยเสียงเราใช้ Arduino Uno R3 เป็นตัวประเมินผลหลัก ทำการเชื่อมข้อมูลกับตัวโมดูลเซนเซอร์เสียงเพื่อทำหน้าที่รับเสียงจากภายนอก สำหรับเสียงในที่นี้ที่ใช้ในการเปิดปิดเสียงจะเป็นเสียงปรบมือก็จะสั่งรีเลย์ซึ่งทำหน้าที่เป็นสวิตซ์เพื่อทำหน้าที่ในการเปิดปิดพัดลม สำหรับพัดลมที่ใช้ในที่นี้จะเป็นพัดลมที่มีขนาด 220 โวลต์ โดยมีสายไฟที่ต่อกับปลั๊กไฟที่อยู่ข้างนอก
โค้ด คำสั่งการทำงาน
int sound_sensor = 4;
int relay = 5;
int clap = 0;
long detection_range_start = 0;
long detection_range = 0;
boolean status_lights = false;
void setup() {
pinMode(sound_sensor, INPUT);
pinMode(relay, OUTPUT);
}
void loop() {
int status_sensor = digitalRead(sound_sensor);
if (status_sensor == 0)
{
if (clap == 0)
{
detection_range_start = detection_range = millis();
clap++;
}
else if (clap > 0 && millis()-detection_range >= 50)
{
detection_range = millis();
clap++;
}
}
if (millis()-detection_range_start >= 400)
{
if (clap == 2)
{
if (!status_lights)
{
status_lights = true;
digitalWrite(relay, LOW);
}
else if (status_lights)
{
status_lights = false;
digitalWrite(relay, HIGH);
}
}
clap = 0;
}
}
ผลการทดสอบพบว่า
ถ้าระยะ 30 cm พัดลมจะทำการจับวัตถุ
ถ้าระยะ 60 cm พัดลมจะทำการจับวัตถุ
ถ้าระยะ 90 cm พัดลมจะทำการจับวัตถุ
ถ้าระยะ 120 cm พัดลมจะทำการจับวัตถุ
ถ้าระยะ 150 cm พัดลมจะทำการจับวัตถุ
ถ้าระยะ 180 cm พัดลมจะทำการจับวัตถุ
ถ้าระยะ 181 cm พัดลมจะทำการจับวัตถุ
ถ้าระยะ 182 cm พัดลมจะทำการจับวัตถุ
ถ้าระยะ เกิน 183 cm พัดลมจะไม่จับวัตถุ
การดำเนินงานมีขั้นตอนดังนี้
1.การติดตั้งอุปกรณ์
2 การเขียนโค้ดโปรแกรมกำหนดเซ็นเซอร์วัดระยะ
3.ทดลองวัดระยะเซนเซอร์ตรวจจัลวัตถุ
4. โครงงานที่เสร็จสมบูรณ์
คณะผู้จัดทำโครงงาน
ด.ญ. ดารีลลาร์ กาซอ
Tel. 0630866121
ด.ญ.ฟาติน หะยีวานิ
Tel.0936086270
Email. lovelyday.5734@gmail.com
ที่ปรึกษาโครงงาน
นางสาวคอรีเย๊าะ วามะ
สอนวิชา วิทยาศาสตร์
Email. 2829@hotmail.com